หลักการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์-DRFT

หลักด้วยระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique ) เป็น ระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย เพราะ ไฮโดรโปนิกส์ระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique) เป็นระบบที่พัฒนามาจากระบบ DFT และมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับประเทศไทยโดยเพิ่มการไหลเวียนของอากาศแลสารละลายธาตุอาหารพืชแต่ผู้ปลูกควรศึกษา หลักการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ระบบ DRFT ให้ดีเสียก่อนลักษณะของระบบจะเป็นโรงเรือนขนาดเล็ก โดยทั่วไปมีขนาด 2×7 เมตร หลังคามุงด้วยพลาสติกใสป้องกันแสง UV ทำให้ทนต่อแสงแดด อายุการใช้งานนาน 2-3 ปี ด้านข้างเป็นมุ้งป้องกันแมลง ดังนั้น ระบบน้ำจะเป็นระบบปิด เป็นระบบที่มีการปลูกแพร่หลายระบบหนึ่งในประเทศไทย ผักที่ปลูกได้ดีและนิยมปลูกได้แก่ ผักไทย เพราะมีระบบรากเยอะ แต่ถึงแม้ว่าจะเป็น ระบบไฮโดรโปนิกส์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย มากที่สุดก็ตาม ก็ยังมีข้อเสียตามมาควรศึกษาระบบน้ำให้ดีเสียก่อนผู้อ่านสามารถติดตามอ่านเพิ่มเติมได้จากบทความ ผักไฮโดรโปนิกส์ ได้ แล้วจึงตัดสินใจเลือกระบบน้ำ หลักการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ระบบ DRFT  มีข้อดี และข้อเสีย ดังนี้ : ข้อดี ระบบไม่ยุ่งยากดูแลง่าย อุปกรณ์ต่างๆ สามารถหาและซ่อมแซมได้ง่าย และทำได้ด้วยตนเอง ระบบการให้น้ำง่ายไม่ต้องมีการดูแลมาก ทำการป้องกัน และกำจัดเชื้อโรคพืชต่างๆ […]

Read more

ทำไมเรียกผักไฮโดรโปนิกส์

ผักไฮโดรโปนิกส์

ผักไฮโดรโปนิกส์ รู้หรือไม่ว่า ?? ทำไมถึงเรียกว่า ผักไฮโดรโปนิกส์และมีกี่ประเภท ผักสลัดต่างประเทศ : ตัวอย่างพันธุ์ผักสลัด เช่น กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด บัตตาเวีย   เรดคอรัล ฟิลเล่ซ์ไอซ์เบิร์ก กรีนคอส มิซูน่าและ วอเตอร์เครlส่วนใหญ่เกษตรกรนิยมใช้ระบบ NFT ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ โดยเฉพาะในต่างประเทศ เพราะได้รับการออกแบบมาเพื่อปลูกผักทรงพุ่ม โต๊ะปลูกจะเตี้ยใช้ต้นทุนต่ำกว่าระบบอื่น แต่เกษตรกรต้องรองรับความเสี่ยงในเรื่องของไฟฟ้าดับให้ดี เพราะเมื่อไฟฟ้าดับอุณหภูมิของน้ำสารละลายธาตุอาหารสูงขึ้น ( น้ำร้อนขึ้น ) จะทำให้ผักไฮโดรโปนิกส์ตายหมด                              ผักไทย-จีน : ตัวอย่างพันธุ์ผักไทย-จีน: คะน้า กวางตุ้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ ผักบุ้งจีน ผักโขม    ป่วยเล้ง ตั้งโอ๋ ทาไข คี่นช่าย และผักชี  เหมาะกับระบบ DRFT หรือระบบที่ใช้แผ่นโฟม จะให้ผลผลิตสูง […]

Read more